ประโยชน์ของเฉียงพร้านางแอ และ สรรพคุณของเฉียงพร้านางแอ
ประโยชน์ของเฉียงพร้านางแอ ช่วยบำรุงร่างกาย
ประโยชน์ของเฉียงพร้านางแอ สมุนไพรเฉียงพร้านางแอ มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า แก็ก วงคต วงคด องคต (ลำปาง), บงคด (แพร่), นกข่อ ส้มป้อง (เชียงใหม่), ขิงพร้า เขียงพร้า (ตราด, ประจวบคีรีขันธ์), กวางล่าม้า (ภาษาชอง-ตราด), ม่วงมัง หมักมัง (ปราจีนบุรี), โองนั่ง (อุตรดิตถ์), บงมัง (ปราจีนบุรี, อุดรธานี), เขียงพร้านางแอ (ชุมพร), เฉียงพร้า ตะแบง (สุรินทร์), ร่มคมขวาน (กรุงเทพ), สีฟันนางแอง (ภาคเหนือ), ต่อไส้ สันพร้านางแอ (ภาคกลาง), คอแห้ง สีฟัน (ภาคใต้), สะโข่ (กะเหรี่ยงเชียงใหม่), กูมุย (เขมร-สุรินทร์) เป็นต้น[1],[2],[3]
ใบเฉียงพร้านางแอ อ่านเรื่องน่ารู้ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามสลับกับตั้งฉาก ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปไข่กลับ หรือเป็นรูปใบหอกกลับ ปลายใบมนมีติ่งเล็กแหลม ส่วนฐานใบสอบแหลม ขอบใบเรียบ มีความกว้างประมาณ 4-7 เซนติเมตรและยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร แผ่นใบเกลี้ยงหนาและเหนียว หลังใบสีเขียวเข้มเป็นมันหนา ท้องใบสีอ่อนกว่า มีจุดสีน้ำตาลกระจาย และมีหูใบอ่อนเป็นรูปหอกแหลมที่ปลายกิ่ง เมื่อร่วงจะเห็นรอยแผล บริเวณข้อพองเล็กน้อย ส่วนก้านใบยาวประมาณ 0.4-1 เซนติเมตร[1],[4]
- ลูกเฉียงพร้านางแอลำต้นใช้ต้มน้ำดื่มช่วยบำรุงร่างกาย (ต้น)[1],[3],[4]
- ลำต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มช่วยทำให้เจริญอาหาร อ่านเรื่องน่ารู้ หรือใช้เป็นยาเจริญอาหารสำหรับสตรีหลังคลอดบุตร (ต้น)[1],[3],[4]
- ลำต้นใช้ฝนน้ำดื่มช่วยแก้ไข้ หรือใช้เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำอาบจะช่วยรักษาไข้ตัวร้อน (ต้น, เปลือกต้น)[1],[3],[4]
- ช่วยแก้อาการร้อนในกระหายน้ำ (เปลือกต้น)[1],[4] ช่วยระบายความร้อน (เปลือกต้น)[4]
- ช่วยขับเสมหะและโลหิต ปิดธาตุ (เปลือกต้น)[1],[4
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น