ประโยชน์ของต้นลำพูป่า และ สรรพคุณของต้นลำพูป่า
ประโยชน์ของต้นลำพูป่า ใช้รับประทานได้ ยอดอ่อนและดอกอ่อน
ประโยชน์ของต้นลำพูป่า จัดเป็นไม้ยืนต้นโตเร็วผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง มีความสูงได้ประมาณ 15-35 เมตร โตวัดรอบลำต้นได้ประมาณ 100-200 เซนติเมตร เรือนยอดแผ่กว้าง รูปทรงกลมหรือทรงกระบอก กิ่งใหญ่จะตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งห้อยลู่ลง เปลือกเป็นสีเทาเป็นสะเก็ดหรือตกเป็นแผ่นไม่เป็นระเบียบ เปลือกในเป็นสีน้ำตาลแดงคล้ำ ส่วนกระพี้เป็นสีน้ำตาลปนเหลือง
ตามกิ่งอ่อนเป็นสันสี่เหลี่ยม อ่านเรื่องน่ารู้ สีเหลือง เกลี้ยง บิดไปมาระหว่างคู่ใบ ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด พบขึ้นตามป่าริมน้ำ ริมลำธาร หรือลำห้วยทั่วไปทางภาคเหนือและภาคใต้ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขาต่ำ ที่ระดับความสูงตั้งแต่ 300-1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ในต่างประเทศพบได้ที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย[1],[3],[4]
สรรพคุณของลำพูป่า
- ชาวเขาเผ่าอีก้อจะใช้เมล็ดลำพูป่า อ่านเรื่องน่ารู้ นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวดท้อง โรคกระเพาะอาหาร อาหารไม่ย่อย อาหารเป็นพิษ (เมล็ด)[1]
- ชาวกะเหรี่ยงเชียงใหม่ จะใช้เปลือกต้นลำพูป่า นำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการปวดท้องโดยไม่รู้สาเหตุ แต่คนที่จะเก็บมาใช้เป็นยา จะต้องเป็นคนเฒ่าคนแก่ที่มีคาถาอาคมติดตัว (เปลือกต้น)[2]
- กิ่งและต้น นำมาสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการช้ำใน (กิ่งและต้น)[2]
- ทั้งต้นนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อุจจาระติดโลหิตสด ๆ โลหิตช้ำ เผาไฟเอาขี้เถ้าละลายน้ำสุก ดื่มแก้เมื่อยเคล็ดตามข้อกระดูก (ทั้งต้น)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น